คอนกรีตงานก่อสร้างทั่วไป

คุณสมบัติ คอนกรีตประเภทนี้ ถูกออกแบบส่วนผสมตามค่ากำลังอัดที่อายุ 28 วัน และค่าการยุบตัวสำหรับงานเทคอนกรีตทั่วไป และงานเทคอนกรีตด้วยปั๊ม โดยส่วนผสมแปรผันตามค่าอัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์ รวมทั้งมีการผสมคอนกรีตด้วยสารลดน้ำและหน่วงการก่อตัว  ตามมาตรฐาน ASTM C 494 ทำให้คอนกรีตมีความสามารถในการทำงานได้ที่เพิ่มขึ้น รวมถึงระยะเวลาการทำงานสำหรับงานคอนกรีตที่นานขึ้น ขั้นตอนการทำงาน คอนกรีตชนิดนี้เหมาะสำหรับการใช้งานทั่วไป และงานเทคอนกรีตที่ต้องใช้คอนกรีตปั๊ม อาทิเช่น อาคารพาณิชย์ … Read More

ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ในโรงงาน พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์น ซีบอร์ด

ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) มาตรฐาน มอก. โรงงานใน พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิร์น ซีบอร์ด แห่งที่ 3 จังหวัดสระบุรี จะนวน 200 ต้น ตุลาคม 2559

หลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะ (การวาง DOWEL BAR)

สวัสดีครับแฟนเพจทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในเย็นวันศุกร์สุดท้ายของเดือนกันยายนนะครับ วันนี้แอดมินตั้งใจจะมาเล่าถึงหลักการหนึ่งในการวางเสาเข็มเจาะมาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านกันนะครับ หลักการที่ว่านั่นก็คือ การวาง DOWEL BAR ที่บริเวณหัวของเสาเข็ม นั่นเองครับ ก่อนจะลงลึกในรายละเอียดต้องถามเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านก่อนว่า DOWEL BAR คืออะไร ? DOWEL … Read More

งานดีดบ้าน อาคารไม้หลังเก่า สำนักงานสาธารณสุข จ.ปทุมธานี

ตัวอย่างงานที่ใช้เสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เป็นงานซ่อมแซมอาคารไม้หลังเก่า สำนักงานสาธารณสุข จ.ปทุมธานี ซึ่งทรุดโทรมมากเพราะมีอายุหลายสิบปีเริ่มตั้งแต่สร้างมา และผ่านเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่มาหลายรอบ ทางสำนักงานสาธารณสุข จ.ปทุมธานี ต้องการที่จะอนุรักษ์อาคารไม้หลังเก่าเอาไว้ จึงได้ให้ผู้รับเหมาเข้ามาปรับปรุงอาคารไม้หลังนี้ แอดมินเห็นว่างานนี้เป็นงานที่น่าสนใจมากในการนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์มาใช้ ก็เลยนำมาเขียนเป็นตัวอย่างให้ดูกันครับ ผู้รับเหมาที่รับผิดชอบงานนี้ก็เลยนำเอา เหล็กเอชบีม (H-Beam) มาใช้ทำเป็นโครงสร้างแทนโครงสร้างไม้ของเดิมที่เริ่มผุพัง … Read More

งานตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จำกัด ตำบลท่าทราย อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

งานตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)  บริษัท ไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จำกัด ตำบลท่าทราย อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร งานนี้ถือเป็นงานที่ยากและท้าทายอีกงานหนึ่งครับ เนื่องจากทางโรงงานหยุดให้เข้าไปงานได้แค่ช่วงกลางคืนและตอนเช้าก็ต้องย้ายปั้นจั่นและอุปกรณ์ออกจากหน้างานทั้งหมด สภาพหน้างานก็มีแต่สิ่งกีดขวางทำให้ยากในการเคลื่อนย้ายปั้นจั่นเพื่อตอกเสาเข็มในแต่ละจุด  

งานตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์(Spun Micro Pile)

งานตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) สำหรับต่อเติมโครงสร้างอาคาร บ้าน ทีมงานเป็นผู้เชี่ยวชาญ มีเทคโนโลยีที่ ทันสมัย ได้การรับรอง  ISO:9001-2015 เป็นที่ยอมรับ ระดับสากล เก็บงานละเอียด ไม่ว่าเป็นอาคาร บ้าน ตึก ก็สามารถ ทำได้ หมดปัญหาบ้านทรุด ใช้เสาเข็มไมโครไพล์ … Read More

ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ภายในอาคารเพิ่มเติม ระดับความสูงจำกัด เพื่อเพิ่มการรับน้ำหนัก

งานตอกเสาเข็มสำหรับต่อเติมบ้านจัดสรร ที่จุดต่อเติมอยู่ติดกับตัวโครงสร้างของบ้านเดิม งานตอกเสาเข็มสำหรับต่อเติมบ้านจัดสรร ที่จุดต่อเติมอยู่ติดกับตัวโครงสร้างของบ้านเดิม แถมยังอยู่ใกล้กับรั้วบ้านของเพื่อนบ้าน ถ้าหากว่าใช้เสาเข็มตอกขนาดใหญ่ก็เสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายต่อโครงสร้างเดิม จึงจำเป็นต้องใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ที่เหมาะกับงานต่อเติมในลักษณะนี้มากกว่า งานต่อเติมโครงการบ้านจัดสรร บ้านสถาพร รังสิต คลอง 3 ตัวบ้านมีกระจกอยู่รอบด้าน จึงจำเป็นต้องใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ที่มีแรงสั่นสะเทือนตอนตอกน้อยกว่าเสาเข็มแบบอื่นๆ หลังจากตอกเสาเข็มลงลึกจนถึงชั้นดินแข็งแล้ว ด้วยการเช็คจาก … Read More

ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ภายในอาคารเพิ่มเติม ระดับความสูงจำกัด เพื่อเพิ่มการรับน้ำหนัก

ภูมิสยาม ซัพพลาย ได้รับความใว้วางใจ ในงานตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ภายในอาคารเพิ่มเติม โดยที่ระดับความสูงจำกัด เราสามรถทำได้  

ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ต่อเติมโรงงาน GINTECH นิคมอุตสาหกรรมนวนคร

งานตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) สำหรับต่อเติมโรงงาน Gintech นิคมอุตสาหกรรมนวนคร เป็นงานตอกเสาเข็มใต้อาคารที่มีความสูงจำกัด จึงจำเป็นต้องใช้ปั้นจั่นแบบย่อส่วนที่ทางภูมิสยาม ได้ออกแบบขึ้นมาเป็นพิเศษ เพื่อให้เข้าทำงานในหน้างานที่มีลักษณะนี้ได้ และใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ ที่มีความยาวที่ท่อนละ 1.5 เมตร แล้วนำมาเชื่อมต่อกันที่เหล็กปลอกรัดหัวเสาเข็ม เพื่อตอกลงไปจนลึกสุดจนสามารถเช็คจาก Last 10 … Read More

คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่

คานคอดิน (Ground Beam) คือส่วนประกอบโครงสร้างบนดินที่รับน้ำหนักพื้น ผนัง และสิ่งที่อยู่เหนือคานคอดินขึ้นไป แล้วจึงถ่ายน้ำหนักไปยังตอม่อและฐานรากต่อไป การก่อสร้างคานคอดิน แบ่งจากระดับความสูงจากพื้นดินได้ 2 แบบ คานคอดินวางอยู่บนระดับดิน เนื่องจากระดับพื้นชั้นล่างอยู่สูงจากระดับดินไม่มากนัก ในการก่อสร้างจึงมักทำเนินดินให้สูงเสมอท้องคานคอดิน และเทลีน (Lean) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อท้องคานแทนการใช้ไม้แบบ และใช้ไม้แบบเฉพาะด้านข้างคานทั้งสองด้าน คานคอดินอยู่สูงจากระดับดินมากกว่า 1 … Read More

การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต (SLUMP TEST)

การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต (Slump Test) ใช้เพื่อทดสอบหาค่าความข้นเหลวของคอนกรีตในสภาพเหลวโดยใช้วิธีการทดสอบหาค่าการยุบตัว เพื่อตรวจสอบความสามารถเทได้ของคอนกรีต (Workability) ค่ายุบตัวไม่ได้เป็นค่าที่วัดความสามารถเทได้ของคอนกรีตโดยตรง แต่เป็นการวัดความข้นเหลวของคอนกรีต (Consistency) หรือลักษณะการไหลตัวของคอนกรีต (Flow Characteristic) แม้วิธีนี้จะไม่เหมาะสมสำหรับทดสอบคอนกรีตที่เหลว หรือแห้งมากแต่ก็มีประโยชน์อย่างมากและสะดวกสำหรับการควบคุมความสม่ำเสมอของการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เช่น ในกรณีที่ค่ายุบตัวของคอนกรีตมีค่ามากกว่าปกติที่ออกแบบไว้ แสดงให้เห็นว่าจะต้องมีความผิดปกติเกิดขึ้นในสัดส่วนผสม ขนาดคละหรือความชื้นในมวลรวมซึ่งจะช่วยให้ผู้ผลิตคอนกรีตสามารถตรวจสอบและแก้ไขได้ การทดสอบทำโดยตักคอนกรีตใส่ลงในโคนที่มีลักษณะเป็นกรวยยอดตัดให้ได้ 3 ชั้น … Read More

ในงานตอกเสาเข็ม LAST 10 BLOW COUNT ถือเป็นเรื่องสำคัญที่ควรใส่ใจเป็นอันดับแรก

โดยปกติถ้าเป็นดินที่อยู่แถวกรุงเทพฯ ซึ่งจะเป็นดินอ่อน การจะตอกเสาเข็มให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งได้ก็จะต้องตอกให้ลึกประมาณ 21 เมตร หากใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ก็จะต้องใช้เสาเข็ม 14 ท่อนในการตอก 1 ต้น แต่เนื่องจากว่าหน้าดินของแต่ละที่ไม่เหมือนกันดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่เป็นมาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ วิธีที่นิยมใช้ก็คือการนับโบว์เคาท์ Last 10 Blow Count หมายถึงระยะจมของเสาเข็มในการทดสอบด้วยการตอก 10 ครั้ง ซึ่งจะต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่คำนวณได้จึงจะผ่านเกณฑ์ … Read More

COLD JOINT – การแก้ปัญหาเวลาที่เทคอนกรีต แล้วคอนกรีตขาดช่วง

ในทางทฤษฎีการหยุดเทคอนกรีตนานเกิน 30 นาที ถ้าจะเทใหม่จะต้องรออีก 20 ชั่วโมง แต่ด้วยเวลาที่จำกัดเพื่อที่จะต้องเร่งปิดงานให้เสร็จทันกำหนดจึงไม่สามารถรอนานขนาดนั้นได้ เพราะจะไปกระทบกับงานในช่วงถัดไปที่ได้กำหนดเวลาเอาไว้แล้ว ดังนั้นจึงควรเทคอนกรีตให้ต่อเนื่องรวดเดียวจนเสร็จ แต่ก็มักจะมีเหตุสุดวิสัยที่ต้องหยุดงาน เช่น คอนกรีตขาดช่วงเพราะรถส่งคอนกรีตมาหน้างานไม่ทัน เป็นต้น ในบล็อกนี้จึงได้เขียนถึงการแก้ปัญหาเวลาคอนกรีตขาดช่วงแล้วจะทำยังไงให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด การแก้ปัญหาเวลาที่เทคานคอนกรีตแล้วคอนกรีตขาดช่วง วิเคราะห์ตามโครงสร้างของคานคอนกรีต จะมีความสามารถรับแรงอัดและแรงเฉือนได้ดี แต่จะไม่สามารถรับแรงดึงได้ ดังนั้นจึงจะเป็นต้องมีเหล็กเสริมเพื่อเพิ่มความสามารถในตรงนี้ และตามลักษณะของโมเมนต์กับแรงเฉือน … Read More

สาเหตุของการเกิดรอยร้าวของคอนกรีต ก่อนที่คอนกรีตจะเริ่มแข็งตัว

การแตกร้าวของคอนกรีตเป็นปัญหาที่ไม่มีใครอยากจะให้เกิดขึ้น แต่บางครั้งถ้าหากเทคอนกรีตไม่ถูกวิธีก็อาจจะสร้างรอยร้าวขึ้นมาได้ ในบล็อกนี้ได้เอาปัญหาการแตกร้าวของคอนกรีตก่อนที่ของคอนกรีตจะเริ่มแข็งตัวมาให้ได้อ่านกัน ซึ่งรอยร้าวชนิดนี้จะเกิดขึ้นภายในระยะเวลา 2 – 8 ชั่วโมง ภายหลังจากการเทคอนกรีต โดยสาเหตุที่ทำให้เกิดรอยแตกร้าวชนิดนี้แบ่งออกเป็นประเภทหลักๆ ได้ดังนี้ การขยับตัวของแบบหล่อคอนกรีต (Form or Subgrade Movement) รอยร้าวชนิดนี้มีสาเหตุมาจากความชื้น ซึ่งจะทำให้แบบพองตัวหรือแบบอาจไม่แข็งแรงพอรับน้ำหนักของคอนกรีตได้ อย่างไรก็ตามวัสดุยึดตรึงแบบ ไม่ว่าจะเป็นตะปู … Read More

การแตกร้าวของคอนกรีต เนื่องจากการหดตัวแบบพลาสติก (PLASTIC SHRINKAGE CRACKING)

การแตกร้าวของถนนนั้นมักจะเกิดขึ้นขณะที่คอนกรีตกำลังแข็งตัวหรือเป็นที่รู้จักกันในเชิงวิชาการคอนกรีตว่า การแตกร้าวเนื่องจากการหดตัวแบบพลาสติก (Plastic Shrinkage Cracking) ซึ่งนอกจากมีโอกาสสูงที่จะเกิดกับงานถนนแล้วยังเกิดกับงานประเภทพื้นที่อยู่กลางแจ้งอื่นได้อีกด้วย อาทิ พื้นนอาคาร, ดาดฟ้าและลานประเภทต่างๆ เป็นต้น การแตกร้าวในลักษณะน้ีจะไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ต่างกับการแตกร้าวเนื่องจากคอนกรีตหดตัวแบบแห้งซึ่งจะเป็นเส้นค่อนข้างตรง และยาว ที่มักจะเกิดข้ึนเมื่อไม่มีการตัดรอยต่อที่ถูกต้อง สาเหตุของการแตกร้าวเนื่องจากการหดตัวแบบพลาสติก การที่คอนกรีตเกิดการแตกร้าวแบบนี้มีสาเหตุมาจากคอนกรีตหดตัวอย่างเฉียบพลันในช่วงที่ยังอยู่ในสภาพยังไม่แข็งตัว (Pre-hardened Stage) ซึ่งคอนกรีตในช่วงนี้แทบจะไม่มีความสามารถในการรับแรงเค้นที่เกิดจากแรงดึง (Tensile … Read More

อิฐมวลเบา (LIGHTWEIGHT CONCRETE)

อิฐมวลเบา (Lightweight Concrete) คือคอนกรีตมวลเบาหรืออิฐมวลเบา เป็นวัสดุสำหรับก่อผนังสำหรับอาคารสูงหรือบ้านที่อยู่อาศัย เป็นวัสดุก่อที่นำเทคโนโลยีการผลิตมาจากต่างประเทศ มีทั้งแบบบล็อกตันและบล็อกกลวง (คล้ายคอนกรีตบล็อก) ขนาดใหญ่ แต่น้ำหนักเบามากกว่าเนื่องจากมีฟองอากาศขนาดเล็กกระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอในเนื้อวัสดุ อิฐมวลเบามีขนาดมาตรฐาน กว้าง 20 x 20 เซนติเมตร และมีความหนาตั้งแต่ 7.5, 10, 12.5, … Read More

1 4 5 6 7 8 9 10